ผลงานแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ประจําปีการศึกษา 2564 จากทุกหน่วยงาน ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ด้านการวิจัย จํานวน 21 เรื่อง ถ่ายทอดความรู้ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติอย่างเป็นระบบ และนำไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานและองค์กรอื่นๆ ต่อไป ผลงานแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ประจําปีการศึกษา 2564 ด้านการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงาน จํานวน 21 เรื่อง ดังนี้ >> อ่านต่อ
ผลงานแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ประจําปีการศึกษา 2564 จากทุกหน่วยงาน ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ด้านการวิจัย จํานวน 9 เรื่อง ถ่ายทอดความรู้ เพื่อใช้เป็นแนวทางปฏิบัติอย่างเป็นระบบ และนำไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานและองค์กรอื่นๆ ต่อไป ผลงานแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ประจําปีการศึกษา 2564 ด้านการวิจัย จํานวน 9 เรื่อง ดังนี้ >> อ่านต่อ
โดย คณะกรรมการดำเนินงานการจัดการความรู้ในองค์กร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีพิมพ์ 2565 จำนวน 388 หน้า เกี่ยวกับหนังสือ รวบรวมผลงานแนวทางการปฏิบัติที่ดี (Good Practices) ประจําปีการศึกษา 2564 จากทุกหน่วยงาน ในสังกัดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ใน 3 ประเด็นองค์ความรู้ คือ ด้านการผลิตบัณฑิต ด้านการวิจัย และด้านการพัฒนาสมรรถนะ การปฏิบัติงาน จํานวน 40 เรื่อง เพื่อถ่ายทอดไปสู่บุคลากรและนําไปปฏิบัติอย่างเป็นระบบ (Explicit Kno... >> อ่านต่อ
รายงานผลการดำเนินงาน การจัดการความรู้ ปีงบประมาณ 2565 โดย คณะกรรมการดำเนินงานการจัดการความรู้ในองค์กร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีพิมพ์ 2565 จำนวน 429 หน้า เกี่ยวกับหนังสือ รายงานผลการดําเนินกิจกรรม/โครงการด้านการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ประจําปีงบประมาณ 2565 ที่ได้ดําเนินกิจกรรมการจัดการความรู้ในองค์กร ตามแผนการจัดการความรู้ แผนการดําเนินกิจกรรม และได้สนับสนุนให้ทุกหน่วย... >> อ่านต่อ
เทปบันทึกการถ่ายทอดสด...โครงการเสวนาธรรมออนไลน์ เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา (วิสาขบูชา) ประจำปี 2564 ความยาว 21:58 นาที วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 จัดโดย งานกิจการนักศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ ผ่านระบบออนไลน์ Microsoft Teams ระยะเวลา 1 ชั่วโมง (10.00 - 11.00 น.) และ สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน ร่วมบันทึกภาพและจัดทำเทปบันทึกการถ่ายทอดสด บรรยาย เสวนา และให้แนวทางงการปฏิบัติตนโดยอาศัยหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 ซึ่งย... >> อ่านต่อ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้เข้าร่วมจัดกิจกรรม U2T สู้ภัย COVID (U2T-COVID WEEK) โดยการสนับสนุนกิจกรรมจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว) ระหว่างวันที่ 23 – 31 พฤษภาคม 2564 โดยจัดทำกิจกรรมเชิงรุกป้องกันการแพร่ระบาดของ COVID – 19 “รุกคลีนพื้นที่ เคลียร์เชื้อร้าย สร้างความปลอดภัยในชุมชน” บริเวณโรงเรียน ศาสนสถาน และตลาด ในพื้นที่ที่มหาวิทยาลัย ฯ ได้รับผิดชอบ จำนวน 70 ตำบล อาทิ จัดหาอุปกรณ์ เจล/สเปรย์ล้างมือเพื่อฆ... >> อ่านต่อ
ภารกิจพิเศษ "U2T COVID WEEK" ก้าวต่อไปสู้ภัยโควิด เพื่อปรับเปลี่ยนแนวการทำงานของโครงการ U2T เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์โควิด-19 ที่กำลังระบาดอยู่ในขณะนี้ ในช่วงวันที่ 23-31 พฤษภาคม 2564 นี้ ผู้เข้าร่วมโครงการ U2T จะเข้าไปดำเนินกิจกรรมพิเศษในพื้นที่ 2 กิจกรรมหลัก คือ กิจกรรมเชิงรุก และกิจกรรมเชิงรับมือ กิจกรรมเชิงรุก คือ “รุกคลีนพื้นที่ เคลียร์เชื้อร้าย สร้างความปลอดภัยในชุมชน” โดยจะเน้นการเข้าไป เคลียร์พื้นที่ทำความสะอาด เพื่อป้อง... >> อ่านต่อ
กองบรรณาธิการ “วารสารวิชาการรับใช้สังคมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา” เปิดรับส่งบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีที่ 5 ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป [[ ดาวน์โหลดโปสเตอร์ประชาสัมพันธ์ ]] โดยสามารถส่งบทความ หรือ เข้าดูรายละเอียดต่างๆ เพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ : >> อ่านต่อ
วารสารวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2563) นำเสนอจำนวน 7 บทความ ดังนี้ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา เทศบาลในจังหวัดพิษณุโลก การประเมินผลตอบแทนทางสังคมของกิจกรรมพัฒนาศักยภาพการตัดเย็บขั้นสูงสำหรับผู้ประกอบการทางวัฒนธรรม อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชาอู่หลงของมูลนิธิโครงการหลวง การศึกษาระบบระบายน้ำในชุมชน กรณีศึกษาชุมชนป่าห้า ตำบลนางแล อำเภ... >> อ่านต่อ
โดย พิชาดา ศรีจันทร์, เบญจรัตน์ เตรียมแรง, สิราณี คำลือ และ อรุโณทัย ตาโน เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา,2564. จำนวน 40 หน้า ISBN 978-974-625-921-7 (e-Book) เกี่ยวกับหนังสือ: หนังสือเรื่อง "การปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบ NFT" นี้ สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับการดำเนินการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์แบบ NFT ในโรงเรือนระบบปิด เป็นส่วนหนึ่งจากผลการทดลองของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ที่ได้รับการสนับสนุนจากส่วนสนับสนุนการดำเนินงานมูลนิธิโครงการหลวง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี... >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา