โลโก้เว็บไซต์ วารสารวิชาการรับใช้สังคม มทร.ล้านนา ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561) | คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก

วารสารวิชาการรับใช้สังคม มทร.ล้านนา ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561)

เผยแพร่เมื่อ : จันทร์ 2 กรกฎาคม 2561 โดย รัตนาภรณ์ สารภี จำนวนผู้เข้าชม 9645 คน

ยังไม่มีคะแนนสำหรับบทความนี้ ผู้อ่านสามารถให้คะแนนบทความได้จากปุ่มข้างใต้

วารสารวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2561) 

นำเสนอจำนวน 8 บทความ ดังนี้

  1. ต้นแบบสถานีตรวจวัดฝุ่นละอองลอยในอากาศแบบออนไลน์ต้นทุนต่ำ
  2. การพัฒนาหัวเจาะเสริมเล็บคาร์ไบด์สำหรับเหมืองถ่านหินลิกไนต์
  3. การถ่ายทอดความรู้เชิงนวัตกรรมแบบมีส่วนร่วม: หัตถกรรมผ้าทอจก บ้านแม่ขี้มูก ตำบลบ้านทับ อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
  4. การประเมินปัจจัยความสำเร็จ โครงการยกระดับคุณภาพชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบมีส่วนร่วม กรณีศึกษาบ้านป่าจี้ ตำบลทุ่งหลวง อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
  5. Guideline for the Sustainability of Community Energy Management under the Sufficiency Economy Philosophy
  6. การบริหารงานแบบชุมชนมีส่วนร่วมที่เหมาะสมสำหรับร้านค้าชุมชน กรณีศึกษา ร้านค้าชุมชนบ้านหลวง ตำบลโหล่งขอด อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่
  7. การพัฒนาโครงงานระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในค่ายบูรณาการสะเต็มศึกษากับภูมิปัญญาท้องถิ่นในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน
  8. บทเรียนความสำเร็จการดำเนินงานเสริมสร้างสุขภาวะแบบมีส่วนร่วมของชมรมผู้สูงอายุบ้านต้นขามสู่การเป็นหมู่บ้านผู้สูงอายุต้นแบบจัดการตนเอง: กรณีศึกษาการสร้างเสริมสุขภาวะผู้สูงอายุ บ้านต้นชาม หมู่ที่ 2 ตำบลชัยจุมพล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์

 

สามารถอ่าน แบบออนไลน์ได้ที่ URL ต่อไปนี้

ดาวน์โหลดเอกสาร คลิกที่นี่ 

วารสารวิชาการรับใช้สังคม มทร.ล้านนา ปีที่ 2 ฉบับที่ 1

วารสารวิชาการรับใช้สังคม มทร.ล้านนา ปีที่ 2 ฉบับที่ 1

เปิดอ่านบน thaijo

 


วารสารวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

ISSN 2586-8268 (Print)
ISSN 2651-0723 (Online)

สื่อกลางเผยแพร่องค์ความรู้ด้านงานวิจัยและบริการวิชาการ สำหรับพัฒนาชุมชนในรูปแบบวารสารที่มีข้อมูลการดำเนินกิจกรรมถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยและหน่วยงานที่มีองค์ความรู้กับชุมชน 







ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา